วันเสาร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

สัปดาห์ ที่ 9

วันที่13 เดือน พฤษภาคม 2560
                                                        blogger  เป็นของตัวเองครับ

หลังจากที่ได้รับความรู้แบบ เยอะแยะมากมาย ทำให้การเรียนวันนี้ได้ ผลงานที่ไม่เคยเกิดขึ้นที่ไหนมาก่อนและมี URL เป็นของตนเองในที่สุด (555555)  
      และไๆด้ความรู้อีกมากมาย คือ
1.ศึกษาคำว่า URL คืออะไร

2.GooGle plus คืออะไร

3.Clip for Innovation and Edacation Technolgy(คลิปเกี่ยวกลับ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา)

4. mind mapเกียวกับการเรียนรู้ในวันนี้





สัปดาห์ ที่ 8

นำเสนอสื่อการเรียนการสอน
เรื่อง เฟืองท้าย 
นักเรียนระดับชั้น ปวช.3/2 แผนกช่างยนต์
วิทยาลัยอาชีวศึกษากุสุมภ์เทคโนโลยี
1.นายปรัชญา แสงทอง  สือการสอนภาษาจีน

2.นางสาวภนัชกร   สำเภา  สื่อการสอน ภาษาอังกฤษ
3.นางสาวชลดา        สันเทียะหมื่นไวย สื่อการสอน e-book อนุบาล
4.นางสาวจิตจุฑา       โทแหล่ง   สื่อการสอนวิทยาศาสตร์
5.นายภราดร  เซ่งฉั่น สื่อการสอน งานส่งกำลังรถยนต์ เรื่องงานเฟืองท้ายรถยนต์
6.นางสาวบุษราคัม กำพุฒกลาง  สื่อการสอน วิทยาศาสตร์
7.นางสาวพัชราวรรณ สิงห์สวัสดิ์ สื่อการสอนคณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ
8.นางสาวเพชรรัตน์  มงคลพัฒนจินดา   สื่อการสอน วิจัย

9.นางสาวยุภาการ เฉลิมพล สื่อการสอน ภาษาอังกฤษ
10.นางสาวศิรินภา ฝาไธสง  สื่อการสอนภาษอังกฤษ
11.นายเกียรติศักดิ์ หาญสันเทียะ   ภาษาอังกฤษ

สัปดาห์ ที่ 7

คำศัพท์ที่อยากเรียนรู้  15 คำ
1.Innovation คือ นวัตกรรม
2. Tools คือ เครื่องมือ
3. Modernization คือ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
4. Value คือ ความคุ้มค่า
5. Project คือ โครงการ
6. Ideas คือ ไอเดียแนวความคิด
7. Model คือ แบบจำลอง
8. Intellect คือ สติปัญญา
9. Generation คือรุ่น
10. Research  คือ การวิจัย
11. Technology คือ เทคโนโลยี
12. Growth คือ การเจริญเติบโต
13. Product คือ สินค้า
14. Robot คือ หุ่นยนต์
15. Source คือ แหล่ง



สัปดาห์ ที่ 6

สัปดาห์ ที่ 5

การศึกษาในยุค Thailand 4.0

รมช.ศึกษาธิการ กล่าวว่า “การศึกษาในยุค Thailand 4.0” มีความหมายมากกว่าการเตรียมความพร้อมของคนหรือให้ความรู้กับคนเท่านั้น แต่เป็นการเตรียมมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ กล่าวคือ นอกจากให้ความรู้แล้ว ต้องทำให้เขาเป็นคนที่รักที่จะเรียน มีคุณธรรม และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วย นั่นก็คือการสร้างคนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นทักษะในการคิดวิเคราะห์เป็นหลัก ในขณะเดียวกัน Thailand 4.0 คือ การพัฒนาประเทศให้มีความทันสมัย มีรายได้มากขึ้น และก้าวพ้นจากกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง โดยจะต้องผลิตนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อเป็นฐานในการพัฒนาประเทศ และต้องสามารถติดต่อค้าขายกับนานาประเทศได้ด้วย
ดังนั้น การศึกษาจึงต้องเร่งดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ให้กับเด็กไทย ได้เข้าก้าวสู่ Thailand 4.0 อย่างเป็นรูปธรรมในหลายด้าน เช่นการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ เป็นหัวใจสำคัญในการสื่อสารกับนานาชาติ ทั้งเพื่อการติดต่อสื่อสาร การแลกเปลี่ยนความรู้ การประสานความร่วมมือ และการค้าขาย ซึ่งที่ผ่านมากระทรวงศึกษาธิการได้ดำเนินการยกระดับภาษาอังกฤษของประเทศผ่านโครงการสำคัญต่าง ๆ อาทิ การพัฒนาครูภาษาอังกฤษผ่านกระบวนการ Boot Camp, จัดทำแอพพลิเคชั่น Echo Hybrid, Echo English เป็นต้น
การส่งเสริมการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสะเต็มศึกษา (STEM Education) เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องของโลกและวัตถุต่าง ๆ ในขณะเดียวกันเด็กไทยในอนาคตก็ต้องคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมของไทยที่ดีงาม ควบคู่กับการเรียนรู้ศาสตร์ใหม่ ๆ ที่มีความทันสมัยด้วยเช่นกัน
การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ สิ่งสำคัญหนึ่งที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ค้นพบเกี่ยวกับ Communication Thinking Skill คือการสอนเรื่องการคิดวิเคราะห์ ไม่สามารถแยกวิชาสอนต่างหากได้ แต่จะต้องมีการเรียนวิชาการแต่ละเรื่องอย่างลึกซึ้งเสียก่อน หลังจากนั้นการคิดวิเคราะห์จะตามมาเอง เช่นเดียวกับการเรียนภาษาอังกฤษ ต้องมีความรู้เรื่องไวยากรณ์ควบคู่กับการอ่าน จนมีความรู้เรื่องคำและเรื่องภาษาจริง ๆ เมื่อนั้นเราก็จะสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ไปใช้งานต่อได้ด้วย
การปรับหลักสูตรการเรียนการสอน ขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการกำลังปรับปรุงหลักสูตรใหม่ เพื่อนำมาใช้ในปีการศึกษา 2561 จากเดิมเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ อาจจะปรับให้เรียนเป็นรายวิชาเฉพาะเช่นในอดีต โดยเนื้อหาหลักสูตรจะเปลี่ยนไปตามองค์ความรู้ในโลกยุคใหม่ พร้อมกับการเรียนเฉพาะเรื่องที่สำคัญ ๆ และเรียนให้รู้อย่างลึกซึ้ง ทั้งนี้อาจเกิดวิชาใหม่ ๆ เช่น Computing ที่จะเป็นการเรียนเกี่ยวกับโปรแกรม ที่ใช้ควบคุมการทำงานของเครื่องจักร เครื่อง กล เพื่อให้เด็กสร้างนวัตกรรมและรู้เท่าทันเทคโนโลยี, ความรู้เรื่องวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ ที่จะนำไปสู่การสร้างนวัตกรรมได้ในที่สุด รวมทั้งอาจจะนำวิชาเดิม ๆ กลับมาสอนอีก เช่น วิชาภูมิศาสตร์ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เรื่องของโลก เกี่ยวโยงไปสู่วิชาวิทยาศาสตร์และเกษตรกรรม คือความเข้าใจการเกิดของมนุษย์ เข้าใจพื้นที่ เป็นต้น
การพัฒนาปรับปรุงตำราเรียนให้มีมาตรฐาน 5 ดาว กระทรวงศึกษาธิการมีความพยายามที่จะสร้างตำราเรียน ให้มีมาตรฐาน เพราะตำราที่ดีจะช่วยส่งเสริมและกระตุ้นให้เด็กอยากรู้ อยากเห็น อยากตั้งคำถาม ดังนั้น ตำราเรียนต้องตอบสนองต่อผู้เรียนจริง ๆ ขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทำมาตรฐานตำราเรียน โดยจะมีการให้คะแนน (ดาว) ตามองค์ประกอบของตำราที่กำหนดขึ้น เช่น มีรูปเล่มสวยงาม มีภาพประกอบที่ดี มีหัวเรื่องบทเรียนและเป้าหมายที่ชัดเจน มีวิธีการและตัวอย่างในการแก้โจทย์-แก้ปัญหา ตลอดจนมีแบบฝึกหัดและมีลิ๊งค์เชื่อมโยงแบบออนไลน์ เป็นต้น ล่าสุดได้มีการประชุมหารือร่วมกันระหว่างกระทรวงศึกษาธิการกับสำนักพิมพ์ที่ผลิตตำราเรียนทั้งหมด เพื่อผลิตตำราเรียนที่ดีมีคุณภาพ และในอนาคตรัฐบาลก็จะใช้ตำราเรียนที่ได้ 5 ดาวเท่านั้น หากตำราใดมีมาตรฐานที่เท่ากัน ก็จะพิจารณาจากราคาต่อไป จากนั้นจึงส่งรายชื่อตำราเพื่อให้โรงเรียนไปจัดหามาใช้ต่อไป
การบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ภายใต้โครงการโรงเรียนดีใกล้บ้าน ขณะนี้ได้เริ่มดำเนินโครงการแล้วในโรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการรอบแรก ซึ่งจะเริ่มดำเนินในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 259 แห่ง โดยทุกอย่างต้องเกิดจากการยอมรับและตัดสินใจของคนในพื้นที่ ชุมชน พ่อแม่และผู้ปกครอง แม้ที่ผ่านมาเราจะมีความพยายามที่จะยกระดับโรงเรียนขนาดเล็ก แต่ยังทำไม่สำเร็จ เพราะหลายฝ่ายไม่เห็นด้วย แต่ขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการ พยายามชี้แจงให้เห็นถึงทางเลือกที่ดีกว่าของบุตรหลาน โดยให้เด็ก ๆ ย้ายไปเรียนในโรงเรียนแม่เหล็กที่มีความพร้อมมากกว่าซึ่งอยู่ใกล้เคียงกัน พร้อมทั้งได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพื่อพัฒนาทั้งทางด้านกายภาพและวิชาการให้สามารถรองรับนักเรียนและครูที่เพิ่มขึ้นได้
รมช.ศึกษาธิการ กล่าวอีกว่า ในส่วนของระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคของ Thailand 4.0 นั้น อาจจะยังไม่ได้ตอบโจทย์ Thailand 4.0 โดยตรง แต่จะมีความเกี่ยวข้องกับเนื้อหา (Content) ในตำราเรียน ซึ่งเป็นเรื่องหรือเนื้อหาที่เด็กต้องเรียน เพื่อนำความรู้เหล่านั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ซึ่งขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการได้หารือกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อปรับระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ภายใต้หลักคิด “ลดภาระของเด็กและผู้ปกครองในการวิ่งรอกสอบ เพิ่มความยุติธรรมสำหรับเด็กด้อยโอกาสและเด็กยากจน และเพิ่มความเที่ยงตรงในการสอบคัดเลือก” เนื่องจากระบบเดิมให้โอกาสกับเด็กที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะ มากกว่าเด็กด้อยโอกาสและเด็กยากจน ที่ไม่มีเงินและไม่สามารถวิ่งรอกไปสอบได้หลายแห่ง รวมทั้งยังเปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยทำการคัดเลือกเด็กเอง ทำให้สร้างความไม่เท่าเทียมและไม่เที่ยงตรงให้เกิดขึ้นในการคัดเลือก เพราะมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เร่งที่จะช้อนเด็กเก่งไว้ทั้งหมด
อย่างไรก็ตาม ในอนาคตเร็วๆ นี้ ระบบการสอบจะเกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอน โดยแนวโน้มคือการสอบจะต้องน้อยลง เพื่อให้เด็กได้เรียนจนครบหลักสูตร และไม่ต้องกังวลกับการเตรียมสอบต่าง ๆ มากจนเกินไป

สัปดาห์ ที่ 4

สัปดาห์ที่ 3

สรุปกิจกรรมในการเรียนในสัปดาห์นี้
เช้า สร้างเมลเป็นของตนเอง










บ่าย ทำการทำแบบทดสอบออนไลน์






















https://docs.google.com/a/vu.ac.th/forms/d/e/1FAIpQLSch-vW-J9RxFjrWI5eRbCivZIvSb3KDlTeSvn57IC3vHCboUgiewform










สัปดาห์ ที่ 2

กิจกรรมการเรียนการสอนในสัปดาห์นี้

ช่วงเช้าสรุปเนื้อหาตามที่ได้รับผิดชอบ

1.ความหมายของนวัตกรรม
2.ความหมายเทคโนโลยีทางการศึกษา
3.การเกิดนวัตกรรม
4.เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
5.เทคโนโลยีทางการศึกษามีความสัำคัญอย่างไร
6.พัฒนาการเทคโนโลยีทางการศึกษา

ช่วงบ่ายInfographics
















https://sites.google.com/s/0B_gyE9h1vOMYaXZ2NnpsQzhudWs/p/0B_gyE9h1vOMYMmFTWkJIa3dsVkU/edit

วันศุกร์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

สัปดาห์ ที่1

1.แนะนำตนเองและ URL ของ biog 

ของตนเองชื่อ-สกุล     นายภราดร    เซ่งฉั่น

ชื่อเล่น               ดร

ติดต่อส่วนตัว     087 XXXXXXX (อิอิอิ)

การศึกษา          ปริญญาตรี(คบ)   สาขาอุตสาหกรรมศิลป์

สถานที่ทำงาน  วิทยาลัยอาชีวศึกษากุสุมภ์เทคโนโลยี                     

ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130          Tel 044-311211

การสอน                  สอนระดับชั้น  ปวช.1-ปวช.2  แผนกช่างยนต์

รหัสนักศึกษา     59410084

กลุ่ม                     3http://916603084.bloggre.com



                               แหล่งที่มา https://www.youtube.com/watch?v=higxYJmq4J8
งานที่ 1 URL  คือ
URL ย่อมาจากคำว่า Uniform Resource Locator คือ ที่อยู่ (Address) ของข้อมูลต่างๆในInternet เช่น ที่อยู่ของไฟล์หรือเว็บไซต์บนอินเตอร์เน็ต
รูปแบบของ URL จะประกอบด้วย
http://www.mindphp.com/support/urlfaq.htm
1. ชื่อโปรโตคอลที่ใช้ (http ซึ่งย่อมาจาก HyperText Transfer Protocol)
2. ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และชื่อเครือข่ายย่อย (www.mindphp)
3. ประเภทของเวบไซต์ (.com) ซึ่งมีอยู่ หลาย ประเภท คือเช่น .com (Commercial),.edu (Educational),.org (Organizations),.net (Network), .co.th (บริษัทในประเทศไทย ดูเพิ่มเติมที่นี่) ฯลฯ
4. ไดเร็กทอรี่ (/support/)
5. ชื่อไฟล์และนามสกุล (urlfaq.htm)
ความสำคัญของ URL คือเวลาเราเข้าเว็บไซต์เราก็ต้องพิมพ์ URL ลงในช่อง url address ของ web browser เช่น จะเข้าเว็บ google.comก็ต้องพิมพ์ http://www.google.com หรือ จะพิมพ์ google.com ก็ได้ไม่ต้องมี http://www.ก็ได้เดี๋ยว Browser มันจะเติมให้เราเอง ดังนั้นการอ้างอิงของข้อมูลบนอินเตอร์เนตต้องระบุ URL ให้ถูกต้อง มิฉะนั้นจะไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลนั้นได้
ข้อมูลอ้างอิง
http://www.bloggang.com
http://pirun.kps.ku.ac.th
http://www.mindphp.com/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD/73-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/2045-url-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html

                                                                 (snipping Tool)

งานที่ 2 GOOGLE Plus คือ
Google + ใช้ชื่อ Tagline เอาไว้ว่า “Real-life sharing, rethought for the web” ซึ่งแน่นอนนี่คือคำเฉลยของข้อมูลจากปุ่ม Google+ ที่ออกมาก่อนหน้านี้
จะเห็นว่าใน Google + นั้นมีการใช้คำว่า +Circles คือระบบเพื่อนนั่นเองที่จะสามารถสร้างกลุ่มเพื่อนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ และสามารถกำหนดเป็นกลุ่มๆได้ อย่างเช่น “เพื่อน”, “ครอบครัว” และกำหนดจำนวนคนในกลุ่มได้มากกว่า 100 คนเพื่อใช้พูดคุยกันบนโลกออนไลน์ได้
ต่อจากนั้นก็เป็นเรื่องของการพูดคุยกันใน Google + โดยจะทีการใช้ชื่อว่า +Sparks ที่มันจะคอยทำหน้าที่กำหนดสิ่งที่เราสนใจต่างๆเพื่อเข้าไปแชร์ ดูข้อมูลหรือสนทนาได้ (แบบ Group ) ยกตัวอย่างเช่นเราสนใจเรื่อง “รถยนต์”, “การ์ตูน”, “แฟชั่น” เป็นต้น ซึ่งเราสามารถระบุสิ่งที่ชื่นชอบเหล่านั้นได้แล้วก็จะมีข้อมูล feed เข้ามาให้เราได้ดู คล้ายหลักการการเป็น Fan ของ Facebook นั้นเองที่เรากด Like แล้วเมื่อต้นทางมีการอัพเดทข้อมูลเราก็จะได้เห็นด้วย แต่ +Sparks จะดึงข้อมูลจาก Internet ที่มากกว่าผ่านปุ่ม Google + เข้ามาแสดงผลด้วยซึ่งมันรองรับภาษาถึง 40 ภาษาในช่วงการเปิดตัวนี้เลย
ฟีเจอร์ต่อไปนี้ถือว่าหลายคนคงชื่นชอบนั้นคือ +Hangouts ฟังชื่อก็รู้แล้วว่ามันต้องเจ๋งแน่ๆ เพราะมันเป็นการกำหนดอนาคตว่าเราต้องการจะไปปาร์ตี้ (ไปทำอะไรก็แล้วแต่) โดยเพื่อนๆสามารถเห็นว่าเรา “ว่าง” พร้อมที่จะออกไปสนุกสนานเรียกให้เพื่อนๆเข้ามาสนุกกับเราด้วย หรือจะเรียกว่ามันคือฟีเจอร์นัดพบก็ว่าได้ แต่มันก็ไม่จำเป็นแค่เพื่อนเท่านั้นที่จะมาเจอกัน เพื่อนของเพื่อนหรือจะใครต่อใครก็ได้เช่นกัน
ขาดไม่ได้เลยในยุคนี้คือ Chat และแน่นอน Google ให้ความสำคัญกับฟีเจอร์นี้พอสมควรโดยใช้ชื่อฟีเจอร์นี้ว่า + Huddle ซึ่งมันสามารถทำการพูดคุยกันเป็นกลุ่มๆได้ด้วยเหมาะสำหรับการทำเป็น Gang ซึ่งถ้าหลายคนเคยใช้งาน BlackBerry Messenger คงคุ้นกับการสนทนาเป็น Group messaging นี้ดี

และเพื่อให้ Google + สมบูรณ์แบบก็จะต้องมีบนมือถือด้วยโดย Google + พร้อมให้ดาวน์โหลดไปใช้บนมือถือที่เรียกว่า +Mobile โดยมีฟีเจอร์ต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นครบสมบูรณ์บนมือถือกันเลย ซึ่งในอนาคตมันคงจะเข้าไปอยู่บนระบบ Android ที่เป็นระบบปฏิบัติการบนมือถือของ Google อีกด้วย โดยไปดาวน์โหลดมาใช้งานกันได้แล้วที่ A ndroid market
ว่าแล้วก็ไปลองใช้ Social Networks ตัวล่าสุดนี้กันเลยว่าจะสู้ Facebook อย่างที่ทาง Google คาดหวังไว้หรือไม่
                                              แหล่งที่มา   http://www.kwamru.com/95
                                                                http://googleplus.kapook.com/
                                                                http://www.techmoblog.com/google-plus/

งานที่ 3 Clip for Innovation and Education Technology
                                             


                             แหล่งที่มา  https://www.youtube.com/watch?v=QQsJTM47COo
งานที่ 4


สัปดาห์ ที่ 9

วันที่13 เดือน พฤษภาคม 2560                                                         blogger  เป็นของตัวเองครับ หลังจากที่ได้รับความร...